Archive | กรกฎาคม, 2013

วิชาสื่อสิงพิมพ์ สัปดาห์ที่่ 4

3 ก.ค.

วันที่อังคารที่ 2/7/2556
1. การใช้เทคนิคใหม่ๆ
การใช้เทคนิคแปลกๆใหม่ๆให้เกิดความน่าสนใจ
2 การใช้สีสัน
3. เน้นส่วนใดส่วนหนึ่งของสินค้า
เช่นการเน้นในเรื่องคุณภาพของสินค้า,รูปทรงแพ็คเกจ,
4.ใช้ขนาดแตกต่างของภาพ (ใหญ่กว่าหรือเล็กกว่า)
5.การปล่อยให้มีพื้นที่ว่าง
6.ใช้ภาพประกอบที่มีชีวิตชีวา
มีการเด่นลกตา
7.เทคนิคกาพริมพ์

หลักในการออกแบบ
1.Unity
มีความต่อเนื่องกันใน
2.Border
การใช้กรอบทำงานเด่นขึ้น
3.white space
ปล่อยให้มีพื้นที่ว่างในงานโฆษณา
4.Emphasis / Point of interest
จุดสนใจ / จุดเด่น

ชนิดของ layout
1.Mondrain
กรอบภาพซ้อนกัน มีส่วนขอ
2.picture window
เน้นที่ภาพ เป็นส่วนสำคัญ
2.1.headline
2.2.picture
2.3.Copy
3.Copy – heavy
เน้นหนักที่ข้อความ ใช้ในกรณีที่มันอธิบายด้วยภาพไม่ได้
ส่วนใหญ่เอาภาพไว้ด้านซ้ายแล้วย่อให้มีขนาดเล็ก การใช้ copy heavy คือสินค้าที่เป็นที่รู็จักดีอยู่แล้ว
ข้อเสียคือเหมือนบทความ วิธีแก้คือการแบ่ง copy ออกมาเป็น colum
4.frame
ใช้ในเรื่องของเทคนิคการถ่ายภาพแล้วมีจุดโฟกัสที่น่าสนใจ เอา มาล้อมกรอบ
ข้อดี คือทำให้ดูเด่น จาก งานโฆษณาตัวอื่น
ข้อเสีย คือแพง
5.circus
การจัดวางแบบสนุกสนาน ไม่ได้เรียงลำดับแต่คำนึงถึงการลำดับสายตาและความยากง่ายในการอ่าน
6.multipanel
ชนิดแถบซ้อน เลียนแบบการ์ตูนช่อง
7.Silhouette
ภาพเงา เน้นด้านข้างมากกว่าด้านหน้า
8.Big type / Type specimen
ตัวหนังสือใหญ่ มีภาพประกอบ
9.Rebus

10.Alphabet Inspread

ให้ภาพกับตัว body copy มารวมกันแล้วกลายเป็นภาพ

การกำหนดตารางเวลาโฆษณา
ปัจจัย
1.ฤดูการขาย
2.วงจรอายุของสินค้า 4PLC
3.การซื้อสินค้า
4.การโฆษณาของคู่แข่ง

การกำหนดตแผนการใช้สื่อ
1.ตารางแบบมหภาค
กำหนดเวลาการใช้งบประมาณสื่อในระยะเวลายาวเช่น ภายใน หนึ่งปี
2.ตารางแบบจุลภาค
กำหนดเวลาการใช้งบประมาณสื่อในระยะเวลาสั้นๆ เช่น ภายในหนึ่งเดือน

การคิดค่าตอบแทนของบริษัทตัวแทนโฆษณา
1.ค่านายหน้าจากสื่อ 15%
– ค่าโฆษณา 8500
– ค่า Agency 1500
– ลูกค้าจ่าย 10000
2.ค่าบริการ 17.65%
ค่าวัสดุอุปกรณ์ จิปาทะ บราๆๆ
3.ค่าธรรมเนียม
เป็นค่าที่คงที่เป็นค่าตลงระหว่าง บริษัทกับลูกค้า
4.การเพิ่มราคา
ค่าอื่นๆที่ตกลงกับลูกค้าเพิ่มเข้าไป

การวัดประสิทธิภาพการใช้สื่อโฆษณา
สื่อสิงพิมพ์
1.ขอบเขตของการแพร่กระจาย
จำนวนของสื่อที่ขายได้ x 100 หารด้วยจำนวนของคนในตลาด
2.จำนวนจำหน่าย
3. สมาชิกผู้ซื้อโดยตรง
ยอดจำนวนคนซื้อโดยตรง
4.ผู้อ่านที่ไม่ซื้อ
คนที่ไม่ได้ซื้อแต่อ่านจากการยืมจากผู้อื่น หรือ ตามร้าน
5. ปัจจัยความซ้ำซ้อน
ความซ้ำซ้อนกันระหว่างหนังสือในประเภทเดียวกัน

รูปแบบของนิตยสาร
รูปแบบปกติมี 3 ขนาด
1.ใหญ่ 4 หน้ายก เช่น มติชน สุดสัปดาห์
2. มาตรฐาน 8 หน้ายก ขนาด A4 นิตยสารทั่วๆไป
3.เล็ก 16 หน้ายก นิตยสารเล็กเช่น ต่วยตูน ขายหัวเราะ

การออกแบบและจัดหน้านิตยสาร
1.ปกหน้า
เป็นหน้าที่สำคัญที่สุดของนิตยสาร มี ISSN (Internation Standard Serial Number)
2.หน้าสารบัญ
เป็นส่วนที่บ่งบอกเนื้อหาที่อยู่ในนิตยสาร
3. เนื้อใน
เนื้อหาที่ประกอบไปด้วยเรื่องราวบทความ
4.หน้าโฆษณา
เป็นส่วนประกอบหลักที่ทำรายได้ใหักับนิตยสาร หน้าโฆษณาที่แพงสุดคือ ปกหลัง

การออกแบบ
1.การออกแบบจัดวางรูปแบบปก
ปกต้องมีความน่าสนใจ ดึงดูด ความน่าสนใจ การเลือกภาพประกอบขึ้นปกควรจะเป็นภาพที่มีความน่าสนใจ มีรายละเอียดและคุณภาพสูง
2.การออกแบบจัดหน้าสารบัญ
ควรแสดงชื่อบทความ และ คอลั่ม ต่างๆ จัดกลุ่มตามประเภทคอลัม ควรจะมีชื่อบทความผุ้เขียน ชัดเจน เลขหน้าบทความแต่ละคอลัม และ ชื่อทีมงาน อยู่ในกรอบซึ่งเรียกว่า “Masthead” หรือ “Shiff Box”
3.การออกแบบจัดหน้าเนื้อใน
ควรจะเน้นความเป้นระเบียบและความเรียบง่าย โดยจัดองค์ประกอบที่มีความเป็นเอกภาพ ภาพประกอบต้องมีความสวยงาม และ เด่นของภาพ โดยใช้ตาราง Grid เข้ามาช่วยในการแบ่งคอลัม
และคำนึงถึงความสม่่ำเสมอตลอดหน้า เช่นหน้าเลข ชื่อคอลัม ชื่อผู้เขียน หน้าซ้ายและหน้าขวาต้องกลมกลืนกัน เนื้อที่ขอบ สันปก
4.การจัดหน้าหน้าโฆษณา
ในหน้าโฆษณาต้องประกอบไปด้วย ข้อมูลในการโฆษณา headline ,copy , body การออกแบบต้องคำนึงถึงเอกภาพ จุดสนใจ ต้องสื่อความหมายจากผู้ลงไปยังผู้อ่าน
sub headline ใช้ตัวหนังที่เล็กลงมาจาก headline และ อ่านง่าย ชื่อผู้โฆษณาอยู่ตรงไหนก็ได้ ภาพประกอบที่ใช้จะต้องมีจุดสนใจที่ดี ถ้าต้องการเน้นภาพอาจจะขยายภาพ
ให้เต็มหน้าหรือเกือบจะเต็มหน้าและมีตัวอักษรประกอบ

หลักการออกแบบจัดหน้า

รูปแบบการจัดหน้า
1.แบบพิรามิด
เนื้อโฆษณาอยุ่ด้านล่าง
2.แบบ่อน้ำ
เนื้อโฆษณาอยู่มุมล่างซ้ายหรือขวา
3.แบบเน้นมุม
อยู่ที่มุมซ้ายหรือขวา
4.แบบมีหู
อยู่บนหัวหนังสือพิมพ์
5.แบบโซลัส
การจัดหน้าโฆษณาแบบมีหูแต่โซลัสอยู่ด้านล่างและมีขนาดใหญ่กว่า
6.แบบยาว
แนวยาวที่ขนานกับขอบหน้าของหนังสือพิมพ์
7.แบบเกาะ
เอาโฆษณาไว้กลางหน้าหนังสือพิมพ์ และมีบทความหรือข่าวล้อมรอบ

หลักเกณฑ์ที่ต้องคำนึงถึงในการออกแบบ
1.หลักความสมดุล
ทางเรขาคณิต การใช้เส้นมุมช่วยในการจัดความสมดุล
ทางศิลปะ การใช้แสงสีเงา
2.การจัดภาพให้ได้สัดส่วน
วางส่วนประกอบของงานโฆษณาทั้งภาพให้ดูเหมาะสมกับพื้นที่ โดยปกติจะมีเกณว่าภาพนั้นควรจะมีพื้นที่มากกว่าข้อความ และ มีพื้นที่เกินกว่าครึ่งหนึ่งของงานโฆษณา
ถ้าภาพขนาดเล็กเกินไปไม่เด่น อาจจะใช้เส้น หรือองค์ประกอบในงานโฆษณามาช่วย ปกติเราจะแบ่งเป็น 3 ส่วน หรือ 5 ส่วน 3 ส่วนสำหรับครึ่งหน้า 5 เต็มหน้า
3 ส่วนเป็นภาพ 2 ข้อความ1
5 ส่วนเป็น ภาพ 3 ข้อความ 2 หรือ ภาพ 4 ข้อความ 1
3.การใช้เส้นนำสายตา
4.การสร้างความจดจำ
การใช้สี ฉากหลังทำให้ผู้บริโภคเกิดการจดจำในตัวงานโฆษณา
5.ความเป็นเอกภาพ
การจัดวางสินค้า , การใช้กรอบ , ช่องว่างหรือพื้นที่